ปวดท้อง-ท้องเสียบ่อย กินยาไม่หาย หมอเตือนเสี่ยง “ลำไส้แปรปรวน”
โรคลำไส้แปรปรวนคืออะไร?
โรคลำไส้แปรปรวน หรือไอบีเอส (IBS) เป็นโรคเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร โดยที่ไม่พบความผิดปกติอะไรที่โครงสร้างของอวัยวะในระบบทางเดินอาหารและไม่มีพยาธิสภาพอื่นใด ผู้ป่วยมักปวดท้องบ่อย (จะรู้สึกหายปวดและสบายขึ้นหลังจากได้ถ่ายอุจาระ) สัมพันธ์กับการขับถ่าย ท้องเสีย ท้องผูก ท้องอืด มีลมมากในท้อง เรอบ่อย และคลื่นไส้
ปัจจุบันยังไม่สามารถระบุสาเหตุของภาวะลำไส้แปรปรวนได้แน่ชัด แต่พบว่ามีหลายปัจจัยร่วมที่เป็นตัวกระตุ้น อาทิ การรับรู้ของระบบทางเดินอาหารที่ไวต่อสิ่งกระตุ้นมากกว่าปกติ, ปัญหาในการย่อยอาหาร, การติดเชื้อในทางเดินอาหาร, ปัญหาทางด้านจิตใจและอารมณ์ ความเครียด วิตกกังวล และซึมเศร้า, สิ่งแวดล้อม และกรรมพันธุ์ (หากสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคลำไส้แปรปรวน จะมีแนวโน้มการเกิดโรคนี้ได้2–3 เท่า)
โรคลำไส้แปรปรวนรักษาด้วยยาได้หรือไม่?
นายแพทย์เหลียวอธิบายว่า เบื้องต้นจะใช้ยาแก้ท้องเสียหรือท้องผูก อย่างไรก็ตาม ไม่มียาตัวใดที่สามารถช่วยให้อาการต่าง ๆ ของโรคลำไส้แปรปรวนดีขึ้นได้แน่ชัด จำเป็นต้องให้ยาตามอาการของผู้ป่วย จึงขอแนะนำให้ผู้ป่วยปรับพฤติกรรมการบริโภคและทานอาหารเสริมโพรไบโอติกในลำไส้
อาหารที่ควรเลี่ยง-อาหารที่ควรทาน
นายแพทย์เหลียวเผยว่า ผู้ป่วยควรหลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง เนื่องจากย่อยยากและตกค้างอยู่ในกระเพาะและลำไส้นานกว่าอาหารชนิดอื่น ก่อให้เกิดการหมักหมม มีแก๊สคั่งค้าง ไขมันจะเป็นตัวกระตุ้นการบีบตัวของลำไส้
เลี่ยงเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ช็อกโกแลต, เลี่ยงการรับประทานอาหารรสจัด ซึ่งจะก่อให้เกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร, เลี่ยงการทานเส้นใยอาหารชนิดไม่ละลายในน้ำ (Insoluble Fiber) เช่น ถั่ว มันเทศ มันฝรั่ง แป้งโฮลวีท ขนมปังต่าง ๆ
ส่วนอาหารที่สามารถลดความเสี่ยงหรือลดอาการได้แก่ ผักโขม กีวี มะละกอ องุ่น ข้าวสวย ข้าวกล้อง ข้าวโอ๊ต ฟักทอง เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้ป่วยควรได้รับคำแนะนำจากแพทย์และนักโภชนาการควบคู่กันไปด้วย
ดังนั้นจึงขอแนะนำให้ผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสีย ท้องอืด และอาการอื่น ๆ เป็นเวลานาน ควรรีบพบแพทย์เพื่อเข้ารับรักษาด้วยยา และควรให้ความร่วมมือในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทานและพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น การนอนหลับที่เพียงพอ การออกกำลังกาย เพื่อช่วยให้อาการดีขึ้น
Shoulder Press
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ไหล่ แขน หน้าอกและหลัง
Chest Press
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ไหล่ แขน หน้าอก
Pec Deck
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หน้าอก ไหล่และหลัง
Arm Flexion/Extension
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ แขน และต้นแขน
Abdominal/Back
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หน้าท้อง และหลัง
Back Extension
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หลัง และหน้าท้อง
Leg Press
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ขา และสะโพก
Adduction/Abduction
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ต้นขาด้านใน และด้านนอก
Leg Extension/Leg Curl
เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ต้นขาด้านหน้า และด้านหลัง
#ปวดท้องท้องเสียบ่อยกินยาไม่หายหมอเตือนเสี่ยงลำไส้แปรปรวน #ฝึกระบบประสาทและความสามารถในการรับรู้เพื่อการทรงตัวที่ดีขึ้นของผู้สูงอายุพร้อมป้องกันความเสี่ยงในการหกล้ม #หกล้ม #ล้มในผู้สูงวัย #ผู้สูงอายุหกล้ม #เครื่องออกกำลังกายผู้สูงอายุ #อุปกรณ์ออกกำลังกายผู้สูงอายุ #เครื่องออกกำลังกายผู้สูงวัย #อุปกรณ์ออกกำลังกายผู้สูงวัย #เครื่องออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ #อุปกรณ์ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ #เครื่องออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัย #อุปกรณ์ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัย #เครื่องออกกำลังกาย #อุปกรณ์ออกกำลังกาย #ลู่วิ่ง #ผู้สูงอายุ #ผู้สูงวัย #กระตุ้นการทำงานของหัวใจและการหมุนเวียนโลหิต #การหมุนเวียนโลหิต #บริหารกล้ามเนื้อส่วนล่าง #เครื่องบริหารกล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด #เครื่องบริหารกล้ามเนื้อ #aswellcare.com #aswellcare #เครื่องออกกำลังกายระบบไฮดรอลิค #Hydraulic #HydraulicCylinder #อุปกรณ์ออกกำลังกาย #อุปกรณ์ฟื้นฟู #อุปกรณ์บำบัด #ฟื้นฟู #บำบัด #อุปกรณ์ฝึกนิ้วมือ #อุปกรณ์ฝึกการหยิบจับ #มืออ่อนแรง #ฝึกนิ้วมือ #อัมพฤกษ์ #อัมพาต #บทความสุขภาพ #วีดีโอสุขภาพ #การดูแลผู้สูงวัย #การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ #ไร้แรงกระแทก #ไฮดรอลิค #ฝึกกล้ามเนื้อ #การเคลื่อนไหว #ข้อกระดูก #ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ #บริหารกล้ามเนื้อ #บริหารกล้ามเนื้อต้นแขน #บริหารกล้ามเนื้อต้นขา #บริหารกล้ามเนื้อสะโพก #บริหารกล้ามเนื้อหน้าอกและหลัง #บริหารกล้ามเนื้อหลัง #บริหารกล้ามเนื้อแขน #บริหารกล้ามเนื้อไหล่ #บริหารไหล่ #บริหาร