การออกกำลังกายในผู้ใหญ่ และผู้สูงวัย มีความสำคัญกับภาวะ SARCOPENIA

การออกกำลังกายในผู้ใหญ่ และผู้สูงวัย มีความสำคัญกับภาวะ SARCOPENIA

ปัญหากล้ามเนื้อฝ่อ กล้ามเนื้อลีบ ภาวะกล้ามเนื้อพร่อง หรือภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย คือ Sarcopenia เมื่ออายุมากขึ้น เป็นการสูญเสียมวลของกล้ามเนื้อและความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ไปตามอายุที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งภาวะนี้ถือเป็นกลุ่มอาการของผู้สูงอายุ (Geriatric Syndrome) ที่พบบ่อยถึง 1 ใน 3 ของผู้สูงอายุทั่วไป

เพราะความแข็งแรงและมวลกล้ามเนื้อฝ่อลงตามวัย ผู้สูงวัยหลายคนจึงประสบกับภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยที่อาจส่งผลต่อการใช้ชีวิตประจำวันได้ โดยทั่วไปคนเราจะมีมวลกล้ามเนื้อสูงที่สุด (Peak Muscle Mass) ที่ช่วงอายุ 30 – 40 ปี หลังจากอายุ 40 ปี มวลกล้ามเนื้อก็จะเริ่มลดลงร้อยละ 1 – 2 ต่อปี ในช่วงแรกอาจจะยังไม่เห็นถึงความเปลี่ยนแปลง แต่เมื่อหลังอายุ 50 – 60 ปี ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อก็จะลดลงด้วย ประมาณร้อยละ 1.5 ต่อปี และลดลงเร็วขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้น จนเริ่มมีผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวันหลังอายุ 65 ปี ดังนั้นการรู้เท่าทันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้สูงวัยจึงเป็นสิ่งสำคัญ

กล้ามเนื้อฝ่อ กล้ามเนื้อลีบ ภาวะกล้ามเนื้อพร่อง หรือภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยเกี่ยวข้องกับอายุจะเป็นกระบวนการเฉพาะกลุ่มกล้ามเนื้อ โดยการลดลงของขนาดเฉพาะกล้ามเนื้อที่มีอายุมากกว่า 50 ปี ได้ศึกษา 47 ครั้งในเด็ก 982 คน (∼ 25 ปี) และ 1,003 คน (∼ 75 ปี)

  • บุคคลและกลุ่มกล้ามเนื้อเก้ากลุ่ม: ยืดข้อศอก (individuals and nine muscle groups: elbow extensors) (−20%, – 0.39%/ปี),
  • กล้ามเนื้องอข้อศอก (elbow flexors) (−19%, −0.38%/ปี),
  • กล้ามเนื้อสันหลัง (paraspinals) (−24%, −0.47%/ปี),
  • กล้ามเนื้อเอวด้านหน้า (psoas) (−29%, −0.58%/ปี),
  • กล้ามเนื้อขาหนีบหรือกล้ามเนื้อที่ใช้ในการหุบสะโพก (hip adductors) (- 13%, −0.27%/ปี),
  • กล้ามเนื้อต้นขาด้านหลัง เอ็นร้อยหวาย (hamstrings) (−19%, −0.39%/ปี),
  • กล้ามเนื้อต้นขาด้านหน้า (quadriceps) (−27%, −0.53%/ปี),
  • กล้ามเนื้อด้านในฝ่าเท้า (dorsiflexors) (−9%, −0.19%/ปี)
  • และกล้ามเนื้อน่อง (and triceps surae) (−14%, −0.28%/ปี) 

จากการศึกษาพบว่ามีความแตกต่างมากกว่าห้าเท่าระหว่างกล้ามเนื้อลีบน้อยที่สุด (−6%, −0.13%/ปี, กล้ามเนื้อน่อง soleus ) ถึงมากที่สุด (−33%, −0.66%/ปี, กล้ามเนื้อต้นขา rectus femoris) การฝ่อ กล้ามเนื้อ ระดับการทำงานของกล้ามเนื้อ ชนิดของเส้นใยกล้ามเนื้อ เพศ และระยะเวลาของกระบวนการชรา ดูเหมือนจะมีอิทธิพลต่อการฝ่อของกล้ามเนื้อโดยเฉพาะ เมื่อพิจารณาถึงการฝ่อของกล้ามเนื้อจำนวนมาก และยังมีกล้ามเนื้อจำนวนมากที่ยังไม่ได้รับการตรวจสอบ ข้อมูลเฉพาะของกล้ามเนื้อที่มากขึ้นสามารถขยายความเข้าใจของเราเกี่ยวกับการทำงานที่เกิดขึ้นตามอายุ และช่วยแนะนำการการออกกำลังกายเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิต ของผู้สูงวัย

อาการที่ต้องสังกตุของผู้สูงอายุที่มีมวลกล้ามเนื้อน้อย ได้แก่

  • เดิน หรือลุกนั่งลำบาก
  • ทรงตัวไม่ดี
  • หกล้มง่าย หรือหกล้มบ่อย ๆ
  • น้ำหนักลดลงโดยไม่ตั้งใจ
  • เพิ่มความเสี่ยงของภาวะกระดูกหัก ภาวะเปราะบาง
  • มีอาการอ่อนแรง เหนื่อยล้า หรือเหนื่อยง่ายจนจำกัดความสามารถในการใช้ชีวิตประจำวัน
  • คุณภาพชีวิตลดลง
  • อาจเกิดโรคซึมเศร้า
  • เพิ่มความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากโรคแทรกซ้อนอื่น ๆ

หลักฐานที่บ่งชี้ถึงภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย ได้แก่ มวลกล้ามเนื้อลดลงร่วมกับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อลดลง หรือสมรรถภาพทางกายลดลง โดยเครื่องมือที่ใช้ประเมินมวลกล้ามเนื้อ คือ เครื่องตรวจวัดวิเคราะห์ส่วนประกอบของร่างกาย Body Composition Analyzer ASW-IN801

เครื่องตรวจวัดวิเคราะห์ส่วนประกอบของร่างกาย Body Composition Analyzer IN-F500

และเครื่องมือที่ใช้ประเมินสมรรถภาพคือ เครื่องตรวจวัด วิเคราะห์และฝึกความสมดุลของร่างกาย หรือการทรงตัว HUR Smart Balance เพื่อประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการล้ม และป้องกันการล้ม

เครื่องตรวจวัด วิเคราะห์และฝึกความสมดุลของร่างกาย หรือการทรงตัว HUR Smart Balance

โดยเราสามารถเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ และยังป้องกันกล้ามเนื้อฝ่อ หรือกล้ามเนื้อลีบ ด้วยเครื่องออกกำลังกาย ASD Wellness ที่เป็นเครื่องออกกำลังกาย สำหรับผู้สูงอายุ ใช้แรงต้านด้วยระบบกระบอกสูบไฮดรอลิค ที่สามารถปรับแรงต้านได้ถึง 12 ระดับ ใช้งานง่าย เพิ่มกล้ามเนื้อและความแข็งแรงให้ผู้สูงอายุ

เครื่องออกกำลังกาย ASDwellness อุปกรณ์

Shoulder Press

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ไหล่ แขน หน้าอกและหลัง

Chest Press

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ไหล่ แขน หน้าอก

Pec Deck

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หน้าอก ไหล่และหลัง

Arm Flexion/Extension

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ แขน และต้นแขน

Abdominal/Back

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หน้าท้อง และหลัง

Back Extension

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ หลัง และหน้าท้อง

Leg Press

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ขา และสะโพก

Adduction/Abduction

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ต้นขาด้านใน และด้านนอก

Leg Extension/Leg Curl

เครื่องออกกำลังกาย ผู้สูงอายุ
เพื่อบริหารกล้ามเนื้อ ต้นขาด้านหน้า และด้านหลัง

การป้องกันภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อยในผู้สูงวัยสำคัญมากกว่าการรักษา เนื่องจากมวลกล้ามเนื้อเริ่มลดลงตั้งแต่อายุ 40 ปี เพราะฉะนั้นการออกกำลังกายและปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิตตั้งแต่เนิ่น ๆ คือสิ่งที่จะช่วยป้องกันอย่างเห็นผล อย่างไรก็ตามหากใครยังไม่เริ่ม ไม่มีคำว่าสายเกินไปสำหรับการเริ่มต้นที่ดีตั้งแต่วันนี้

ที่มา : https://journals.physiology.org/doi/abs/10.1152/japplphysiol.00768.2022?journalCode=jappl

————————————————–
สนใจสินค้าสอบถามเพิ่มเติมได้ค่ะ
#พบกับโปรโมชั่นสุดเร้าใจ ผ่อนสบาย แบ่งจ่าย 0% นาน 10 เดือน
หรือจะเป็นระบบเช่ารายเดือนก็มีให้บริการนะคะ
ASWELLCARE http://aswellcare.com/ มีหน้าร้านพระราม 2 ซอย. 42
 เปิดทุกวัน จันทร์ – เสาร์ 8.00น. – 17.00น.
เรียนเชิญทุกท่านที่สนใจอยากทดสอบครื่องออกกำลังกายผู้สูงวัย
#คุณภาพดี ราคาถูก เหมือนยกฟิตเนสไปไว้ที่บ้านในราคาเบาๆ
เข้ามาทดลองสินค้าที่ WWW.ASWELLCARE.COM ได้เลยค่ะ
สนใจติดต่อกันเข้ามาได้เลยนะคะ ยินดีให้บริการค่ะ
#inbox https://www.facebook.com/aswellcare
#Tel : 099-498-1818

#การออกกำลังกายในผู้ใหญ่ และผู้สูงวัย มีความสำคัญกับภาวะ SARCOPENIA #กล้ามเนื้อฝ่อ #กล้ามเนื้อลีบ #ภาวะกล้ามเนื้อพร่อง #ภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย #ฝึกระบบประสาทและความสามารถในการรับรู้เพื่อการทรงตัวที่ดีขึ้นของผู้สูงอายุพร้อมป้องกันความเสี่ยงในการหกล้ม #หกล้ม #ล้มในผู้สูงวัย #ผู้สูงอายุหกล้ม #เครื่องออกกำลังกายผู้สูงอายุ #อุปกรณ์ออกกำลังกายผู้สูงอายุ #เครื่องออกกำลังกายผู้สูงวัย #อุปกรณ์ออกกำลังกายผู้สูงวัย  #เครื่องออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ #อุปกรณ์ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุ #เครื่องออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัย #อุปกรณ์ออกกำลังกายสำหรับผู้สูงวัย #เครื่องออกกำลังกาย #อุปกรณ์ออกกำลังกาย #ลู่วิ่ง #ผู้สูงอายุ #ผู้สูงวัย #กระตุ้นการทำงานของหัวใจและการหมุนเวียนโลหิต #การหมุนเวียนโลหิต #บริหารกล้ามเนื้อส่วนล่าง #เครื่องบริหารกล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด #เครื่องบริหารกล้ามเนื้อ #aswellcare.com #aswellcare #เครื่องออกกำลังกายระบบไฮดรอลิค  #Hydraulic #HydraulicCylinder #อุปกรณ์ออกกำลังกาย #อุปกรณ์ฟื้นฟู #อุปกรณ์บำบัด #ฟื้นฟู #บำบัด #อุปกรณ์ฝึกนิ้วมือ #อุปกรณ์ฝึกการหยิบจับ #มืออ่อนแรง #ฝึกนิ้วมือ #อัมพฤกษ์ #อัมพาต #บทความสุขภาพ #วีดีโอสุขภาพ #การดูแลผู้สูงวัย #การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ #ไร้แรงกระแทก #ไฮดรอลิค #ฝึกกล้ามเนื้อ #การเคลื่อนไหว #ข้อกระดูก #ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ #บริหารกล้ามเนื้อ #บริหารกล้ามเนื้อต้นแขน #บริหารกล้ามเนื้อต้นขา #บริหารกล้ามเนื้อสะโพก #บริหารกล้ามเนื้อหน้าอกและหลัง #บริหารกล้ามเนื้อหลัง #บริหารกล้ามเนื้อแขน #บริหารกล้ามเนื้อไหล่ #บริหารไหล่ #บริหาร

ปรึกษาเราได้ที่นี่
error: Content is protected !!